วัดบ้านเด่น (วัดเด่นสะหรีศรีเมืองแกน) วัดงามแห่ง อ.แม่แตง

วัดเด่นสะหรีศรีเมืองแกน หรือที่เรียกกันว่า วัดบ้านเด่น เดิมชื่อ วัดหรีบุญเรือง เป็นวัดที่มีชื่อเสียงของ อ.แม่แตง ภายในวัดมีพื้นที่กว้าง และมีสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่สวยงาม ลักษณะรูปแบบสถาปัตยกรรมล้านนาประยุกต์ แต่ก่อนภายในวัดมี ต้นโพธิ์ หรือ ต้นสะหรี ขนาดต่าง ๆ ซึ่งมีความหมายเป็นมงคล จึงได้นำชื่อมาตั้งเป็นชื่อวัด แล้ววัดยังตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าสมัยโบราณซึ่งเรียกว่า เมืองแกน ชาวบ้านเลยเรียกชื่อวัดว่า

Read more

วัดอินทขิล หลวงพ่อขาว เชียงใหม่

วัดอินทขิลสะดือเมือง หรือ วัดสะดือเมือง เป็นวัดโบราณที่ตั้งอยู่ใกล้กับ หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ (ศาลากลางหลังเก่า) และอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ แต่เดิมวัดแห่งนี้เป็นวัดร้าง และเคยเป็นที่ตั้งของเสาอินทขิล(เสาหลักเมือง) ของเมืองเชียงใหม่ ดังนั้นทางวัดจึงตั้งชื่อว่า วัดอินทขิลสะดือเมือง แต่ปัจจุบัน ภายในวัดอินทขิลไม่มีเสาอินทขิลดั้งเดิมแล้ว เพราะได้ย้ายไปประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวงแทน วิหารวัดอินทขิล วิหารสีดำประดับด้วยลวดลายทอง หลวงพ่อขาว วิหารวัดอินทขิล พระพุทธรูปล้านนา อายุกว่า 700

Read more

วัดเจ็ดลิน เชียงใหม่ สะพานไม้ไผ่ข้ามบึงบัว สะพานโต่วะ

วัดเจ็ดลิน เป็นวัดขนาดไม่ใหญ่ ตั้งอยู่ใกล้ประตูเชียงใหม่ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2060  ตามประวัติกล่าวว่า กษัตริย์ราชวงศ์มังรายก่อนจะขึ้นเสวยราชย์ทุกพระองค์ จะเสด็จมาประกอบพิธีสรงน้ำพุทธาภิเษก ณ หนองน้ำวัดเจ็ดลิน ซึ่งจะมีรางน้ำ เรียกว่า “ลิน” ทำด้วยทองคำ หลั่งน้ำพุทธาภิเษกจากสุวรรณหอยสังข์ หล่อลงรางลินทำด้วยคำทั้ง 7 เพื่อสรงพระวรกาย แล้วจึงเปลี่ยนเครื่องทรงกษัตริย์ขึ้นเสวยราชย์ ในอดีตวัดเจ็ดลินเคยรุ่งเรือง ทราบได้จากหลักฐานโฉนดที่ดินในปี

Read more

วัดพันเตา วิหารไม้สัก เชียงใหม่

วัดพันเตา เป็นวัดเก่าแก่ของเชียงใหม่ อดีตคนเชียงใหม่เรียกวัดนี้ว่า “วัดปันเต้า” (พันเท่า) นอกจากนี้ยังมีอีกที่มาที่กล่าวว่า วัดนี้จะเคยใช้เป็นแหล่งสร้างเตาหล่อพระนับร้อยนับพันเตา จึงได้ชื่อว่า “วัดพันเตา” ซุ้มประตูเข้าวัดพันเตา มีขนาดค่อนข้างเล็ก พระวิหารหอคำหลวง ฝาข้างวิหารมีลักษณะคล้ายฝาปะกน ของเรือนไทยภาคกลาง พระเจ้าปันเตา พระพุทธรูปศิลปะล้านนา ความโดดเด่นของวัดแห่งนี้คือพระวิหารที่มีความงดงามและสมบูรณ์ที่สุด ตัวอาคารเป็นเรือนไม้สักทั้งหลังตามศิลปะแบบเชียงแสน มีการแกะสลักลวดลายอย่างงดงาม ภายในพระวิหารหอคำหลวงประดิษฐาน

Read more

วัดพระธาตุเบ็งสกัด น่าน

วัดพระธาตุเบ็งสกัด เป็นวัดเก่าแก่ของจังหวัดน่าน สถาปัตยกรรมแบบไทลื้อ ที่ผ่านมาได้มีการปรับเปลี่ยน รูปแบบหลายครั้ง ลักษณะวิหารเป็นทรงสูง แต่หลังคาจะกดต่ำแบบช่างล้านนาเดิม มีลาดบัว ที่ฐานตอนล่างของพระวิหาร ด้านข้างของวิหาร เจาะหน้าต่าง เป็นบานเล็กๆ  หน้าวิหารมีลักษณะเป็น มุขโถงโล่งๆ ขึ้นบันไดด้านหน้า จะถึงโถงมุขหน้าเข้าสู่ภายในวิหาร ประตูด้านหน้าวิหาร เป็นประตูใหญ่กว้างและสูง ประกอบด้วยลวดลายปูนปั้น ผสมผสาน

Read more

วัดพระนอน แพร่

วัดพระนอน เป็นวัดที่เก่าแก่อีกวัดหนึ่ง ตั้งอยู่ภายในกำแพงเมืองเก่าของเมืองแพร่ มีประวัติความเป็นมายาวนานนับพันปี เป็นศิลปะแบบผสมผสานถึงสามยุค คือ เชียงแสน สุโขทัย และอยุธยาตอนปลาย วัดพระนอนสร้างโดย เจ้าพระยาชัยชนะสงคราม และพระนางเจ้าอู่ทองศรีพิมพา เมื่อ จุลศักราช 236 (พ.ศ.1417) มีพระอุโบสถแบบเชียงแสน คือไม่มีหน้าต่าง แต่ทำเป็นช่องรับแสงแทน ส่วนหน้าบันแกะสลักอย่างงดงามเป็นลายก้านขด มีภาพรามเกียรติ์ประกอบ ส่วนวิหารตกแต่งชายคาด้วยไม้ฉลุโดยรอบ

Read more

วัดพงษ์สุนันท์ แพร่

วัดพงษ์สุนันท์ เป็นวัดประจำตระกูลวงศ์บุรี จ.แพร่ อยู่ติดกับคุ้มวงศ์บุรี วัดนี้สร้างขึ้นเมื่อใดไม่มีหลักฐานปรากฏชัด แต่สร้างก่อนปี พ.ศ. 2472 เดิมเรียกว่า “วัดปงสนุก” ต่อมาได้มีบันทึกว่าเมื่อปี พ.ศ. 2472 ผนังวิหารได้พังทลายลงเพราะเกิดน้ำท่วม ทำสังฆกรรมไม่ได้หลายปี หลวงพงษ์พิบูลย์ (พรหมวงศ์พระถาง) และภรรยาของท่านคือ เจ้าสุนันตามหายศปัญญา จึงเป็นผู้นำในการก่อสร้างวิหารใหม่

Read more

วัดหัวข่วง น่าน

วัดหัวข่วง เป็นวัดที่อยู่ใจกลางเมืองน่าน ไม่ปรากฏว่าสร้างมาตั้งแต่สมัยใด สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยล้านนาตอนปลาย พุทธศตวรรษที่ 20-22 มีจิตรกรรมฝาผนังที่สวยงามภายในพระวิหาร มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย ลักษณะพุทธศิลป์แบบท้องถิ่นล้านนา สกุลช่างเมืองน่าน ฝีมือประณีต โดยมีหลักฐานว่าเกี่ยวกับประวัติการบูรณะครั้งแรกใน พ.ศ. 2425 โดยเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าเมืองน่าน และต่อมาปี พ.ศ. 2472 ในสมัยเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองน่าน

Read more

วัดต้นแหลง วัดเก่าไทลื้อ อำเภอปัว น่าน

วัดบ้านต้นแหลง หรือ วัดต้นแหลง เป็นวัดเก่าแบบไทลื้อรุ่นแรกๆ อยู่ใน อ.ปัว จ.น่าน สร้างขึ้นเมื่อราวปี พ.ศ. 2127 หรือประมาณ 422 ปี โดยช่างชาวไทลื้อ สันนิษฐานว่าพื้นที่บริเวณนี้มีชาวไทลื้อได้เข้ามาตั้งรากฐาน ลักษณะของวิหารทรงตะคุ่มหลังคาลาดต่ำซ้อนกัน 3 ชั้น มุงด้วยไม้แป้นเกล็ด ลักษณะเดียวกับบ้านเรือนแบบเดิมของชาวไทลื้อแถบสิบสองปันนา โครงสร้างส่วนบนเป็นไม้ ใช้วิธีการเข้าไม้

Read more

วัดภูเก็ต จุดชมวิวทุ่งนา อ.ปัว น่าน

วัดภูเก็ต เป็นวัดที่อยู่ใน อ.ปัว จ.น่าน ไม่ได้อยู่ในจังหวัดภูเก็ต ตามชื่อของวัด ส่วนที่มาของชื่อวัดมาจาก ตัววัดตั้งอยู่บนเนินเขา ซึ่งทางภาคเหนือ เรียกว่า “ภู” ส่วนคำว่า “เก็ต” มาจากวัดตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านเก็ต ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า “วัดภูเก็ต” ตามลักษณะที่ตั้ง โดยวัดนี้มีพระครูสุทินนันทธรรม เจ้าคณะอำเภอบ่อเกลือ เป็นเจ้าอาวาส บันไดขึ้นไปยังวัด

Read more